• เป็นหมากรุกที่เกิดจากการผสมผสานข้อดีจากหมากรุก 3 กระดาน คือ หมากรุกไทย, จีน และสากลเข้าด้วยกัน
  • เล่นง่าย เพราะวิธีเดินของหมากแต่ละตัวถูกออกแบบเป็นสัญลักษณ์พิมพ์กำกับไว้บนตัวหมาก แม้คู่เล่นที่เคยมีประสบการณ์เล่นหมากรุกต่างกระดานกัน (ไทย-จีน, ไทย-สากล, จีน-สากล) ก็สามารถเล่นร่วมกันได้อย่างสนุกสนาน
  • ชื่อ OXELI มีที่มาจากลำดับการจัดเรียงหมากตัวสำคัญบนกระดานตอนเปิดเกม ซึ่งบังเอิญคล้ายอักษรโรมันอ่านออกเสียงได้ว่า โอเซลิ พอดี
กระดาน 64 ช่องสลับลายหมากรุกแบบกระดานหมากรุกสากล
ตัวหมาก เป็นไม้ทรงกระบอกแบบหมากรุกจีน พิมพ์ลาย ,,,,, และ
(อาจแยกสีพิมพ์ให้ต่างกัน หรือใช้สีเดียวกันแต่กลับขาว-ดำ ฯลฯ)

การตั้งหมาก ตั้งแบบหมากรุกไทย คือแถว เว้นห่างจากตัวหลัก 1 ช่อง ตั้งอยู่ตำแหน่งที่ 4 ของผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่าย ลงตัวกว่าหมากรุกสากลที่ King ฝ่ายที่เดินก่อนจะอยู่ ตำแหน่งที่ 5 ส่วนฝ่ายตรงข้ามจะวางอยู่ตำแหน่งที่ 4 ซึ่งยุ่งยากกว่า

การเดินการกิน

ลายพิมพ์ การเดินและการกิน เทียบกับหมากรุกกระดานอื่น
สากล จีน ไทย
เดินและกินได้ทุกช่องที่ประชิดรอบตัว
ห้ามเดินเผชิญหน้ากับ ฝ่ายตรงข้าม
ตลอดแนวตรงและแนวเฉียง
จึงใช้ บีบตาเดิน ฝ่ายตรงข้ามได้ เสมือนเป็น Queen
ดูภาพประกอบ
King


Queen

-
ตี่ (เฉพาะ
แนวตรง)
กือ

ขุน


-
เดินและกินแนวเฉียงได้ทุกช่อง

เดินและกินแนวฉากระยะประชิดได้ด้วย ทำให้ เดินระยะประชิดได้แบบ King

ทำให้ ตัวเดียวเดินสลับได้ทั้งช่องดำและ
ช่องขาวทั่วกระดานเท่าBishop คู่
ดูภาพประกอบ
Bishop

King


2 Bishops
สือ

-


-
เม็ด
(ได้ช่องเดียว)
ขุน


-
เดิน ตรงตลอดแนว
กิน สปริงตัวข้ามหมากคั่น 1 ตัว (ฝ่ายไหนก็ได้) กินหมากตัวถัดไปที่อยู่แนวตรงกัน
- เผ่า
(ปืนใหญ่)
-
เดินและกินเป็นรูปตัว L คือนับไป 2 ช่องตรงๆ แล้วหักฉาก 1 ช่อง Knight เบ๊ ม้า
เดินและกินแนวฉากได้ทุกช่อง Rook กือ เรือ
เดินตรง และ กินเฉียง ไปข้างหน้าได้ทีละช่อง

ก้าวแรกของแต่ละตัวเดินได้ช่องเดียว

เมื่อเดินหรือกินจนสุดแถวฝั่งตรงข้าม จะได้แต่งตั้งเป็น (เท่านั้น)
Pawn

-

Promoted Queen
-

-

-
เบี้ย

เบี้ย

-
เดินและกินได้ทั้งแนวเฉียงแนวฉากทุกช่อง (ได้ทั้งแบบ และ ) Promoted Queen - -

คลิกที่ลายพิมพ์เพื่อดูภาพประกอบ

หมายเหตุ:

  • promoted Queen ใช้วิธีซ้อนเบี้ย 2 ตัวเหมือนหมากฮอส.
  • เฉพาะใน app เกม โอเซลิ หรือใน diagram ที่พิมพ์สื่อสารกันเท่านั้น ที่ promoted Queen จะเปลี่ยนเป็นรูป Q ตลอดจบเกม ถ้าไม่โดนกินไปเสียก่อน.



เหมือนหมากรุกโดยทั่วไป คือผลัดกันเดินคนละครั้งไปจนจบเกม และเดินได้ครั้งละ 1 ตัว (ไม่มี castling เหมือนหมากรุกสากลที่เดิน King และ Rook พร้อมๆ กันได้ในการเดินครั้งเดียว ซึ่งไม่มีในหมากรุกไทยและหมากรุกจีน) เป้าหมายของเกมคือการเดินรุกไล่ ฝ่ายตรงข้ามให้จนกระดาน. ถ้า ฝ่ายใดถูกรุก (ถูกทำให้อยู่ในตากินของหมากฝ่ายตรงข้ามทุกตัวยกเว้น ) ฝ่ายนั้นต้อง

    1. กินตัวรุกฝ่ายตรงข้ามทิ้ง
    2. เดินหมากตัวอื่นมาปิดป้อง และ
    3. เดิน หลบไปในตาเดินที่ปลอดตากินของหมากคู่แข่ง
การยอมแพ้ ฝ่ายที่หมากเสียเปรียบมากมองไม่เห็นทางชนะ สามารถขอยอมแพ้ได้
ผลเสมอ เกิดจากการที่ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องต้องกัน เนื่องจากหมากที่เหลือบนกระดานของทั้งสองฝ่าย
ชี้บอกว่าไม่สามารถทำอะไรกันได้ เช่นต่างฝ่ายต่างเหลือ กับ ที่รุกกันไม่ได้ เพราะ ต้องมีตัวคั่น โอกาสที่จะแพ้ชนะกันจึงมีน้อยมาก (ดูภาพประกอบ) ถ้า บีบตาเดิน ฝ่ายตรงข้ามอยู่ริมกระดาน และกด E ฝ่ายตรงข้ามไว้ด้วย เมื่อเดิน รุก ฝ่ายตรงข้าม โดยใช้ ฝ่ายตรงข้าม (ที่ขยับหนีให้พ้นแนวไม่ได้) เป็นตัวคั่น เป็นเพียงเงื่อนไขเดียวที่จะรุกชนะกันได้.




  1. อับ คือ แพ้ กติกาข้อนี้ ทำให้เกมที่แลกกันจนเหลือเพียง ทั้งคู่ ก็ไม่เสมอ! เพราะ ฝ่ายที่ยืนตำแหน่งได้เปรียบ จะค่อยๆ บีบตาเดินของ ฝ่ายตรงข้าม (เสมือนเดิน รุกแบบม้า) ไปจนที่มุมกระดานได้ในที่สุด ดูภาพประกอบ
  2. ห้ามรุกล้อ หรือ เดินไล่จับหมากฝ่ายตรงข้าม ซ้ำๆ
    ในกติกาหมากรุกจีน ห้ามมิให้เดินซ้ำ เป็นครั้งที่ 3 โดยเกมไม่ก้าวหน้า เพราะรุกยังไงก็ไม่ตาย ไล่จับยังไงก็ไม่ได้กิน นั่นเอง

 


Copyrights © 2010 Prinya Rojarayanont. All rights reserved.